การชุบสีอโนไดซ์ คืออะไร และดีอย่างไร

การชุบสีอโนไดซ์ คืออะไร

 

 

     การชุบสีอโนไดซ์ คือ กระบวนการป้องกันการผุกร่อนของโลหะอลูมิเนียม โดยการทำให้เกิดออกไซด์ของอลูมิเนียม ซึ่่งออกไซด์ของอลูมิเนียมที่เกิดขึ้นจากการทำอโนไดซ์จะมีรูพรุนเล็กๆ จำนวนมากที่ผิวสีของอลูมิเนียมเกิดจากการนำสีเข้าไปยังรูพรุนเล็กๆ จากนั้นจึงสร้างชั้นฟิลม์เพื่อปกป้องผิว ซึ่งมีทั้งความแข็งและทนทานต่อการกัดกร่อน ช่วยให้อลูมิเนียมเส้นหน้าตัด ทนต่อสภาวะอากาศ โดยที่ไม่เกิดสนิม และยังให้ความสวยงามเหมาะกับการนำไปตกแต่ง

 

 

ชุบอโนไดซ์เพื่ออะไร ?

 

 

 - เพิ่มความต้านทานในการกัดกร่อน และช่วยเพิ่มความทนทานให้กับผิวอลูมิเนียม

 - เพิ่มประสิทธิภาพในการเคลือบสี

 - เพิ่มประสิทธิภาพความลื่นของชิ้นงาน

 - เพิ่มประสิทธิภาพในการยึดเกาะของสีที่เคลือบ

 

 

ข้อดีของการชุบอโนไดซ์ มีอะไรบ้าง ?

 

 

 - ชั้นฟิล์มออกไซด์สามารถทำสีได้บางมาก ถ้าเทียบกับการทำสีแบบ Plating หรือ Powder Coating

 - ชั้นฟิล์มออกไซด์สามารถทำสีได้ โดยมีความทนทานต่อการเสียดสีและติดทนนาน พื้นผิวสีแข็งแรงกว่าการทำสีแบบ Plating หรือ Powder Coating

 - หากเปรียบเทียบกับการทำสีแบบ Plating รับชุบอโนไดซ์สี หรือ Powder Coating ถือว่ามีต้นทุนที่ไม่แพง

 - เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสามารถนำไปรีไซเคิลได้ง่าย

 

 

หากต้องการชุบอโนไดซ์มีสีอะไรบ้าง ?

 

 

         ห้างหุ้นส่วนจำกัด พรีซิชั่น โคตติ้ง โลจิสติก รับชุบอโนไดซ์หลากหลายสี งานคุณภาพ ตาม Order ลูกค้า รับทำจำนวนมากชิ้นและจำนวนน้อยชิ้น เรารับทำหมด รับชุบอโนไดซ์ Anodize ทุกสี ตามความต้องการ

 

 

ชุบอโนไดซ์สีดำ

 

 

ชุบอโนไดซ์สีดำ

 

 

 

 

 

ชุบอโนไดซ์สีแดง

 

 

ชุบอโนไดซ์สีแดง

 

 

 

 

 

ชุบอโนไดซ์สีม่วง

 

 

ชุบอโนไดซ์สีม่วง

 

 

 

 

 

ชุบอโนไดซ์สีส้ม

 

 

ชุบอโนไดซ์สีส้ม

 

 

 

 

 

ชุบอโนไดซ์สีเทา

 

 

ชุบอโนไดซ์สีเทา

 

 

 

 

 

ชุบอโนไดซ์สีเขียว

 

 

ชุบอโนไดซ์สีเขียว

 

 

 

 

 

ชุบอโนไดซ์สีน้ำเงิน

 

 

รับชุบอโนไดซ์สีน้ำเงิน

 

 

 

 

 

ชุบอโนไดซ์สีทอง

 

 

ชุบอโนไดซ์สีทอง

 

 

 

 

 

        โรงชุบตั้งอยู่ที่สมุทรปราการ เรามีเครื่องมือในการตรวจสอบคุณภาพงานที่ทันสมัย มีประสบการณ์มากว่า 20 ปี ให้ความสำคัญกับบริการชุบงานตาม ORDER งานเร่งด่วน ยินดีให้คำปรึกษางานชุบทุกขั้นตอน ได้ที่ 02-682-7156

 

 

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.pclcoating.com

https://pclcoating.pagesthai.com

Line : pclcoating

 

 

 

โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ตัวช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์

โซล่าฟาร์ม คืออะไร


         à¹‚ซล่าฟาร์ม (Solar Farm) à¸•à¸±à¸§à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ หรือ โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นนวัตกรรมใหม่ของยุคปัจจุบันโดยนำโซล่าเซลล์หลาย ๆ แผงเรียงต่อกันเพื่อทำการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยโซล่าเซลล์ (Solar cell) à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¹‚ซล่าฟาร์มถูกออกแบบเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าระดับเมกะวัตต์ (MW) เพราะปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพมาก เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาด ไร้มลพิษ ใช้ได้ไม่มีวันหมดและช่วยประหยัดพลังงานเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นเงินได้

 

โซล่าฟาร์ม

 

 

ประเภทของแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cells) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

 

         1. แผงโซล่าเซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีที่สุดในตลาด เพราะผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง โดยใช้ซิลิคอนชิ้นเดียวในการผลิตเซลล์แต่ละชิ้นทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 17-20% และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด สามารถใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะของแผงแบบโมโนจะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุมเรียงต่อกัน มองง่าย ๆ จะเห็นเป็นจุดขาว ๆ ตลอดทั้งแผง แต่ไม่นิยมนำมาใช้ติดตั้งโซล่าฟาร์มเนื่องจากมีราคาสูงและไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนักเพราะต้องตัดซิลิคอนให้ได้รูปและจะมีซิลคอนที่เหลือทิ้งเป็นขยะ

 

         2. แผงโซล่าร์เซลล์แบบโพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีรองลงมาจากตัวโมโนและสามารถทนความร้อนได้ดี นิยมนำมาใช้ติดตั้งเป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์หรือโซล่าฟาร์ม โดยการผลิตแผงโพลีจะใช้ซิลิคอนอัดรวมทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจะอยู่ที่ 15-19%  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¡à¸µà¸›à¸£à¸°à¸ªà¸´à¸—ธิภาพดีไม่ต่างกับแผงโมโนเท่าไร แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี ซึ่งลักษณะของแผงจะเหมือนตารางสี่เหลี่ยม ไม่มีการตัดมุมเหมือนแผงโมโน

 

         3. แผงโซล่าร์เซลล์แบบอมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่เป็นการเคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ ไว้บนแผงผลิตจากแก้วหรือพลาสติก แผงจะมีลายเส้นตรงถี่ๆ เรียงต่อกัน ไม่ได้เป็นตาราง ซึ่งแผงแบบนี้จะมีราคาถูกที่สุด สามารถทำงานได้แม้อยู่ในที่แสงน้อย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าไม่สูง และมีอายุการใช้งานสั้นประมาณ 5 ปี จะนิยมมใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกา

 

รับติดตั้งโซลล่าฟาร์ม

 

 

ระบบการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ มี 2 แบบ ดังนี้

 

1. โซล่าฟาร์มแบบยึดติดอยู่กับที่ (Fixed System) 


          เป็นการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีตำแหน่งชัดเจน ตั้งอยู่กับที่โดยดูว่าพื้นที่บริเวณใดโดนแสงอาทิตย์นานสุดเพื่อที่จะได้รับพลังแสงพระอาทิตย์ ได้เยอะ ๆ และนำพลังงานไปใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด

ข้อดีของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- ต้นทุนในการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์จะต่ำกว่าแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ และค่าดูแลรักษาก็จะถูกกว่า
ข้อเสียของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- เวลารับแสงอาทิตย์มีจำกัด เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ทำให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวันและรับแสงได้เต็มที่ในช่วงเที่ยงเท่านั้น


2. โซล่าฟาร์มแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ (Tracking System) 

          เป็นการติดตั้งโซล่าเซลล์ ที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าแบบอยู่กับที่ประมาณ 20% เนื่องจากมีแขนกลทำหน้าที่หมุนแผงโซล่าเซลล์ ซึ่งจะควบคุมด้วยโปรแกรมเก็บข้อมูลความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ ที่เป็นตัวกำหนดให้แผงหมุนตามมองศาของแสงอาทิตย์ ทำให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน

          à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸—ำโซล่าฟาร์มจำเป็นต้องใช้พื้นที่ค่อนข้างมากในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของสถานที่นั้นๆ สถานที่ติดตั้งควรจะเป็นที่โล่งแจ้ง ห้ามมีเงาหรือฝุ่นมาบังแผงโซล่าเซลล์ ควรวางแผงโซล่าเซลล์ให้เอียงประมาณ 10-15 องศา เพื่อรับแสงอาทิตย์ให้มากที่สุด

 


โซล่าเซลล์


          à¸”ังนั้นการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์มด้วยแผงโซล่าเซลล์นั้น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกร หรือช่างเทคนิคที่เชี่ยวชาญ อย่าง บริษัท สยาม-ซันนี่ โวลท์ จำกัด ให้บริการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม (Solar farm) ระบบไฟฟ้า รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ติดตั้งตู้คอนโทรล บริการออกแบบตู้คอนโทรล ในโรงงานอุตสาหกรรมและสำนักงานอาคารต่าง เครื่องบรรจุของเหลว ๆ และมีบริการดูแลหลังการติดตั้งเป็นอย่างดีติดต่อสอบถามได้ เรายินดีให้ปรึกษาเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานและสถานประกอบการ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติม คลิก

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบ ติดตั้งระบบโซล่าร์ฟาร์ม งาน Solar farm
ข้อควรระวังในการติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความปลอดภัยของการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นเรื่องที่สำคัญ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ตัวช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์

โซล่าฟาร์ม คืออะไร


         à¹‚ซล่าฟาร์ม (Solar Farm) à¸•à¸±à¸§à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ หรือ โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นนวัตกรรมใหม่ของยุคปัจจุบันโดยนำโซล่าเซลล์หลาย ๆ แผงเรียงต่อกันเพื่อทำการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยโซล่าเซลล์ (Solar cell) à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¹‚ซล่าฟาร์มถูกออกแบบเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าระดับเมกะวัตต์ (MW) เพราะปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพมาก เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาด ไร้มลพิษ ใช้ได้ไม่มีวันหมดและช่วยประหยัดพลังงานเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นเงินได้

 

โซล่าฟาร์ม

 

 

ประเภทของแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cells) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

 

         1. แผงโซล่าเซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีที่สุดในตลาด เพราะผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง โดยใช้ซิลิคอนชิ้นเดียวในการผลิตเซลล์แต่ละชิ้นทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 17-20% และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด สามารถใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะของแผงแบบโมโนจะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุมเรียงต่อกัน มองง่าย ๆ จะเห็นเป็นจุดขาว ๆ ตลอดทั้งแผง แต่ไม่นิยมนำมาใช้ติดตั้งโซล่าฟาร์มเนื่องจากมีราคาสูงและไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนักเพราะต้องตัดซิลิคอนให้ได้รูปและจะมีซิลคอนที่เหลือทิ้งเป็นขยะ

 

         2. แผงโซล่าร์เซลล์แบบโพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีรองลงมาจากตัวโมโนและสามารถทนความร้อนได้ดี นิยมนำมาใช้ติดตั้งเป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์หรือโซล่าฟาร์ม โดยการผลิตแผงโพลีจะใช้ซิลิคอนอัดรวมทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจะอยู่ที่ 15-19%  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¡à¸µà¸›à¸£à¸°à¸ªà¸´à¸—ธิภาพดีไม่ต่างกับแผงโมโนเท่าไร แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี ซึ่งลักษณะของแผงจะเหมือนตารางสี่เหลี่ยม ไม่มีการตัดมุมเหมือนแผงโมโน

 

         3. แผงโซล่าร์เซลล์แบบอมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่เป็นการเคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ ไว้บนแผงผลิตจากแก้วหรือพลาสติก แผงจะมีลายเส้นตรงถี่ๆ เรียงต่อกัน ไม่ได้เป็นตาราง ซึ่งแผงแบบนี้จะมีราคาถูกที่สุด สามารถทำงานได้แม้อยู่ในที่แสงน้อย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าไม่สูง และมีอายุการใช้งานสั้นประมาณ 5 ปี จะนิยมมใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกา

 

รับติดตั้งโซลล่าฟาร์ม

 

 

ระบบการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ มี 2 แบบ ดังนี้

 

1. โซล่าฟาร์มแบบยึดติดอยู่กับที่ (Fixed System) 


          เป็นการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีตำแหน่งชัดเจน ตั้งอยู่กับที่โดยดูว่าพื้นที่บริเวณใดโดนแสงอาทิตย์นานสุดเพื่อที่จะได้รับพลังแสงพระอาทิตย์ ได้เยอะ ๆ และนำพลังงานไปใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด

ข้อดีของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- ต้นทุนในการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์จะต่ำกว่าแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ และค่าดูแลรักษาก็จะถูกกว่า
ข้อเสียของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- เวลารับแสงอาทิตย์มีจำกัด เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ทำให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวันและรับแสงได้เต็มที่ในช่วงเที่ยงเท่านั้น


2. โซล่าฟาร์มแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ (Tracking System) 

          เป็นการติดตั้งโซล่าเซลล์ ที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าแบบอยู่กับที่ประมาณ 20% เนื่องจากมีแขนกลทำหน้าที่หมุนแผงโซล่าเซลล์ ซึ่งจะควบคุมด้วยโปรแกรมเก็บข้อมูลความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ ที่เป็นตัวกำหนดให้แผงหมุนตามมองศาของแสงอาทิตย์ ทำให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน

          à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸—ำโซล่าฟาร์มจำเป็นต้องใช้พื้นที่ค่อนข้างมากในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของสถานที่นั้นๆ สถานที่ติดตั้งควรจะเป็นที่โล่งแจ้ง ห้ามมีเงาหรือฝุ่นมาบังแผงโซล่าเซลล์ ควรวางแผงโซล่าเซลล์ให้เอียงประมาณ 10-15 องศา เพื่อรับแสงอาทิตย์ให้มากที่สุด

 


โซล่าเซลล์


    เครื่องบรรจุน้ำ       à¸”ังนั้นการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์มด้วยแผงโซล่าเซลล์นั้น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกร หรือช่างเทคนิคที่เชี่ยวชาญ อย่าง บริษัท สยาม-ซันนี่ โวลท์ จำกัด ให้บริการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม (Solar farm) ระบบไฟฟ้า รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ติดตั้งตู้คอนโทรล บริการออกแบบตู้คอนโทรล ในโรงงานอุตสาหกรรมและสำนักงานอาคารต่าง ๆ และมีบริการดูแลหลังการติดตั้งเป็นอย่างดีติดต่อสอบถามได้ เรายินดีให้ปรึกษาเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานและสถานประกอบการ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติม คลิก

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบ ติดตั้งระบบโซล่าร์ฟาร์ม งาน Solar farm
ข้อควรระวังในการติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความปลอดภัยของการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นเรื่องที่สำคัญ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15